Working languages:
English to Thai
Thai to English

jiraphand
English-Thai ttranslator

Bangplee, Samutprakarn, Thailand
Local time: 01:15 +07 (GMT+7)

Native in: Thai (Variant: Central / Standard) Native in Thai
  • PayPal accepted
  • Send message through ProZ.com
Feedback from
clients and colleagues

on Willingness to Work Again info
No feedback collected
Account type Freelance translator and/or interpreter
Data security Created by Evelio Clavel-Rosales This person has a SecurePRO™ card. Because this person is not a ProZ.com Plus subscriber, to view his or her SecurePRO™ card you must be a ProZ.com Business member or Plus subscriber.
Affiliations This person is not affiliated with any business or Blue Board record at ProZ.com.
Services Translation, Interpreting, Editing/proofreading, Website localization, Software localization, Subtitling
Expertise
Specializes in:
Mechanics / Mech EngineeringScience (general)
AgricultureConstruction / Civil Engineering
Automotive / Cars & TrucksGeneral / Conversation / Greetings / Letters

Rates
English to Thai - Standard rate: 0.50 THB per word / 300 THB per hour
Thai to English - Standard rate: 0.50 THB per word / 300 THB per hour

Portfolio Sample translations submitted: 3
English to Thai: The_Child_Bride__Rights_under_the_Civil_and_Shariah_Law
General field: Law/Patents
Detailed field: Religion
Source text - English
Abstract
Aims of this paper are to discuss rights of minors to marriage. Others whether it is significant to get involved in
marriage institution at tender age and matters that contribute to this. The laws that will be looked at is the Federal
Constitution, local statutes and also the United Nation Human Rights Declaration and the Convention on the Right of
the Child (CRC). The authors will also put forward the recommendations to policy makers to look at the adequacy of
the laws or to have current law reformed.
© 2011 Published by Elsevier Ltd. Selection and peer-review under responsibility of Centre for Environment-
Behaviour Studies (cE-Bs), Faculty of Architecture, Planning & Surveying, Universiti Teknologi MARA, Malaysia
Keywords: Child; bride; marriage; rights; Convention on the Right of the Child
1. Introduction
Social issues nowadays seem to grow at alarming rates. Issues such as sexual abuse against minors,
abandoned and illegitimate babies and child bride are rampant lately. Cases of child bride are not new.
For example, Prophet Muhammad (peace be upon him) married Aisha when she was six years old.
Recently, the Malacca state government announced to allow female students to get married. Other upon him) married me when I was six years old and I was admitted to his house at the age of nine
(Sahih Muslim:2003)
Literature unanimously while referring to the syariah authorities in the states enactment asserts that
under the syariah law, a Muslim girl below the age of 16 can marry, if she has the consent from the
syariah court. The syariah court is supposed to rule on every case individually. One of the earliest States
in Malaysia that is Johor provided that a marriage shall not be solemnized if the woman is less than 16
years of age or the man less than 18 years, except for specific reasons and with the approval of the Kadi
Besar(Islamic Family Law Enactment:1990). This provision has also been embedded in section 18 of
IFLA(Islamic Family Law Act-Federal Teritory) 1984. Author(Abdul Yazid Alias, 2010) while quoting
the word of Mufti Selangor, Datuk Tamyes Abdul Wahid and Menteri Besar Kelantan, Dato Nik Aziz,
writes that both are at consensus that child bride should not be encouraged. Those who utilized the Hadith
above are said to merely used for self purpose and not for the Islam way and objectives of marriage.
On issue of ‘Wali’ authors(Mimi Kamariah,1999, p. 15;Ahmad Ibrahim, 1996, p.16) of family laws
writings has referred to Shafi’i' school which state that if a girl is a minor or has not attained puberty, only
her father or father’s father may be her wali in marriage. While the authors made a references to other
schools in Islam where according to Hanafi School, a girl who is married off when a minor may , upon
reaching puberty, renounce the marriage. Literature while reviewing the case of Salmah and Fatimah,
Infants v Soolon(1978) 1 Ky 421; agree with the court’s decision which lay down the principle under the
Hanafi schoo that states upon puberty, a Hanafi girl could marry without her wali’s consent. In the case
an Arab Shafi’I girl reached the age of puberty, wished to marry an Indian Muslim boy but her wali
refused to consent to the marriage, reason being that the girl being an Arab could not marry any person
other than of her own nationality. She preceded the marriage with the boy without her wali’s consent and
the wali obtained an injunction from the court to restrain consummation of the marriage. The court
initially agreed with the wali and somehow, the girl renounced the Shafi’i school and embraced the
Hanafi School. She renewed her application to dissolve the injunction. The court agreed with her, set
aside the injunction.
2.4. Issues of Child Bride under the Civil Law
Under the civil law, the Law Reform (Marriage and Divorce) Act, 1976, which applies to non-
Muslims, marriage is allowed only for those who are 18 years and above. However, if a girl aged 16
years and above may marry, with a license being obtained from the Chief Minister or Menteri Besar.
As marriage bears the nature of a contract, the contractual incapacity of a minor is regarded as a
protection of the minor against the consequences of its own actions and presumed lack of judgment in
such matters (Beatrix Vohrah & Wu Min Aun, 2000). Literature while commenting the case of Rajeswary
v Balakrrishnan[1958]3MC178, agree with the court that distinguished the case of Mohori Bibee on the
fact that the contract in that case was a business contract, not a contract to marry. The plaintiff in this case
was a minor who had entered into a contract to marry. The defendant had breached the contract and she
sued him for damages. This has enshrined the priciple that a minor could not enter into a valid contract.
The case of Khimji Kuverji v Lalji Karamsi AIR 1941 Bom 129 was also referred to and was applied in
the case of Rajeswary. It was held in Rajeswary’s case that a minor may enter into a valid contract to
marry.
It can be summarized that there is no minimum age to marry under the Islamic law or in other words
issue of child bride is not an offence under the shariah law. Nevertheless the civil law carrys the same
nature of argument that does not categorize child marriage is an offence in Malaysia. Both Shariah and
Civil Law support that a marriage is similar to a civil contact yet they are different when discussing on the
liabilities of parties to each contract.

3. Methodology
This study adopts a qualitative research methodology. It anticipates two stages, which will draw upon
primary and secondary sources. The first part is the library-based research on searching information
through primary sources which consist of laws of Malaysia, policies of the government, the state and the
judiciary, the rulings of the Malaysian Bar Council, the state bars while the secondary sources are consist
of online databases including CLJ Law, LexisNexis, Ebscohost, Science Direct, Springerlink, Proquest
and Emerald, documentary evidence such as statistics, relevant reports, acceptable usage policies of the
ISP company and proceedings.
4. Results and Discussions
4.1. Consent Of The Parties
According to the Shafii School of law, it is important to have the consent of the bride for a marriage
except in the case where a virgin girl is given in marriage by her father or her paternal grandfather. Surah
An Nur (24):32:
“Marry those among you who are single or the virtuous ones among your slaes, male and
female, if they are poverty, God will give them means out of his grace. For God
encompasses all and He knows all things”
Ayesha reported that the Messenger of Allah(pbuh)said:
“the marriage of a woman who marries herself without the consent of her guardian is
void”. He said this words three times. (Sunan Abu Dawud Kitab al-Nikah vol 2)
This view is summarized in the Minhaj-et-Talibin:
A father can dispose as he pleases of the hand of his daughter without asking her
consent, whatever her age may be, provided she is still a virgin. It is however
commendable to consult her as to her future husband, and her formal consent to the
marriage is necessary if she has already lost her virginity (Nawawi: 1914)
In the case of Syed Abdullah Al-Shatiri v Shariffa Salmah [1959] MLJ 137 the appellant solemnized a
marriage between his daughter and one Syed Idros. The daughter opposed to it. The appellant lost in the
first instance court. He appealed. Finally, the Appeal Board concluded that the marriage was valid and set
aside the order of the Syariah Court. Syed Idros was found disinterested with the marriage and gave his
wife a kholo’ divorce. Malaysian Syariah law provided for the importance of a marriage with the consent
of wali mujbir, nevertheless the right of wali mujbir may be contested by the party wanting to marry if the
wali refused to consent without sufficient reason (section 13 of Islamic Family Law (Federal Territories:
1984; Kelantan Islamic family Law Enactment 1983; Kedah Islamic Family Law Enactment 1984;Johor
Islamic Family Law Enactment 1990).
In civil law, according to the Law Reform (Marriage and Divorce) Act, 1976, it is important that both
parties agree or consent freely to the marriage. It is also an offence for a person to use any force or threat
to compel a person to marry against his will or to prevent a person who has reached the age of 21 years
from contracting a valid marriage (Law Reform (Marriage and Divorce) Act 1976).
4.2. International View On Rights Of Children
The rights of children are enshrined in the United Nation Convention on the Rights of the Child or
CRC. Malaysia has accepted CRC since 1995. Yemen has highlighted this issue few years back. There’s
no absence of protest against early marriage in Yemen (Mira Baz, 2010). Local development
organizations, along with U.N. agencies and the many international NGOs have lobbied since 2000 for a
law that criminalizes marriage for women younger than 18. Last year, a draft law settled on 17 as a
compromise, but it failed in parliament due to what activists describe as strong opposition from influential
conservatives. Despite many countries enacting marriageable age laws to limit marriage to a minimum
age of 16 to 18, depending on jurisdiction, traditional marriages are widespread. Poverty, religion,
tradition, and conflict make the incidence of child marriage in Sub-Saharan Africa similar to South Asia.
(Nour, Nawal M, 2006). Among the rights given to a child under CRC are:
􀁸 The right to survive
Children have the right to life. Life is not just about being alive. It is about being happy and being at
peace with one self, with others and with their environment. They have the right to have proper living
conditions, food which is nutritious and medical care if they are ill. It does not matter whether they are
HIV, poor or disabled, they are entitled to be more than just alive.
􀁸 Protection rights.
Nobody has the right to harm children whether physically or sexually. They have the right to be
protected from exploitation and harm and they have the right to learn how to prevent and seek help from
any abuse. According to a report issued by the United Nations, these early marriage unions violate the
basic human rights of these girls by putting them into a life of isolation, service, lack of education, health
problems, and abuse. (Sheri & Bob Stritof: 2010). The UNICEF paper states: "UNICEF believes that,
because marriage under the age of 18 may threaten a child's human rights (including the right to
education, leisure, good health, freedom of expression, and freedom from discrimination). Child
marriage, sexual violence, female genital, mutilation/cutting and child labour prevent girls from enjoying
gender equality. They must be prevented and addressed as part of global initiatives to empower women.
(UNICEF: 2010)
􀁸 Development rights.
Children have the right to an education that will develop their personality and talents. They have the
right to develop their mental and physical abilities. This is to prepare them to become a responsible
member of society. They should be given an opportunity to learn to inculcate respect for their parents,
their culture, language and their country.
􀁸 The right to participate.
It is suggested that all organizations concerned with children should work towards what is in the best
interest of children. Children have the right to reliable information. Thus, the mass media should provide
information that can be understand by them and they should not promote things that could harm children.
4.3. Rights of Minors with Regards to Marriage.
A question may arise as to whether we should consider marriage in order to prevent the increasing
numbers of illegitimate babies born and whether the child marriage could reduce cases of baby dumping?
Under the Islamic law, Muslim girls are entitled to get married once they reached puberty. Muslims are
subject to Islamic law.
Promise of marriage entered into by minors or their parents on their behalf have been held valid. In
Rajeswary & Anor v. Balakrishnan & Ors(1958) 3 MC 178, the High Court, following Indian precedent,
held that the age of majority for entering into a marriage contract differed from other contracts entered
into by a minor and consequently, such contracts were not affected by the general rules. Pursuant to
decided cases, it seems to suggest that a minor has a right with regards to marriage. Non-Muslims are
subject to the Federal Law. Section 10 of the Law Reform (Marriage and Divorce) Act 1976 provides for
the avoidance of marriages where either party is under minimum age for marriage.
Clause (1) of Article 5 of the Federal Constitution provides that no person shall be deprived of his
personal liberty save in accordance with the law. Article 5(1) and 8(1) of the Federal Constitution to
protect and safeguard livelihood. Specifically, there is no law in Malaysia which expressly prohibits
marriage of under aged. The parties are subject to laws such as Law Reform (Marriage and Divorce) 1976
or the Islamic laws (according to the relevant states). Therefore, children are allowed to get married as
they wish, but of course they are subject to the personal laws mentioned above.
Although the Islamic laws and civil laws clearly give rights to underaged marriage, the provisions in
the Convention of the Child give protection to children. When it comes to conflicting laws, the ones that
prevail are those made by local statutory bodies, compared to the CRC. Somehow, with these laws,
parties should not take any advantage to children, especially young children, as they have no knowledge
in marriage, what more their responsibilities!
4.4. The Situation in Malaysia
As of now, there is no law in Malaysia which prohibits marriage of underage brides and grooms.
However, those marriages are subject to the laws, such as Islamic laws or the civil laws. For those who
have reached the age of sixteen and above may marry with the consent of their parents, Kadhi or Chief
Minister or Menteri Besar (for non-Muslims). Malaysian was taken aback by the news of a father
marrying his 11 years old daughter with his friend of the age 41 years old. To make things worse the
groom has three existing marriage (Mohamad Isa Abd Ralip, 2010).
The question or issue here is will these marriages curb the excessive numbers of unwed babies or
abandoned/dumped babies cases? The authors are of the opinion that a fair balance need to be looked at
between the demands of the general interest of the community and also protection of the children’s
interest in marriages.
The justification as to whether we should allow child marriage as introduced by the Malacca
government wherein male students below 18 and female students below 16 are allowed to get married
with the permission of parents and religious courts depends on the circumstances of each case. Of course,
their objectives of getting married lie in their hands. We believe that this is one way to prevent unwed
pregnancies, to lesser baby dumping cases, sexual cases, pre-marital sex, free sex and many more. If
underage marriages can guarantee cases of unwed babies or abandoned/dumped babies, we are of the
opinion that it should be allowed. As to the age, the authors suggest that the law remained as it is as it has
already existed a long time ago. Somehow the authors are disagreeable with the idea of marriage of
children of tender age, for example as young as five years old. If those children are teenagers, reached the
age of puberty, it can always be considered as sound decision to get married, but for tender age, it actually
would amount to harm and abuse to children.
The authors would like to highlight some points in this issue, for example, where an adult married a
child; he should be punished for a heavy sentence. For a child, she may not understand the consequences
of marriages, be the responsibilities that are waiting for her. The written consent of all parties, the parents,
and especially the bride or the children must also be looked at. Make this a vital document and prominent,
without this consent, the marriage is not legal.
Marriageable age is also an important aspect here. It must be strictly and seriously adhered by all.
Even though in all enactments and statutes pertaining to marriage, marriageable act has been defined,
somehow society took for granted at this. The authors are agreeable that for Malaysia, for non-Muslim,
the marriageable age starts from sixteen onwards. If children want to get married earlier, then a written
consent from relevant parties must be obtained.
The policy maker should, when discharging their decision, adopt a liberal approach in order to balance
the demands of the general interest of the community that is to prevent underage pregnancies in Malaysia
and recent cases of babies being abandoned by their unwed mothers and the requirements of the
protection of the children’s interest in marriages.
5. Conclusions
By getting married, it does not mean that all social problems can be solved straight away, at any time
or within overnight. Marrying adolescence at her tender age will not ease the problem. Adopting the
practice of Rasulullah (pbuh) should not be a reason as Rasulullah saw did not take advantage of the
slaves system during his time even though it was the usual custom. He protects women and child in
accordance to the words of Allah swt. Islam does not prohibit such marriage; nevertheless Islam protects
children and women. Therefore the end result resting on marrying the child shall be of the best interest of
the child. This varies from one facts of the case to another. There are so many other ways to solve social
problems, such as prevention all social ills from the beginning. Sexual education may help if taught the
right way. Religious knowledge is also important as to prevent all social ills in our country. The authors
believe, education which starts right from home is the best tool to prevent all social ills. If we care and
love our children, we can prevent all these from happening. All we have to do is to provide attention, love
and affection to our children. Our children are our future.
Translation - Thai
บทคัดย่อ
เป้าหมายของบทวิจัยนืทำขึ้นเพื่อถกถึงสิทธิของการแต่งงานของเยาวชน หรืออย่างอื่นที่มีความสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสถาบันการแต่งงานและขั้นตอนการแต่งงานของบุคคลที่อายุยังไม่ถึงเกณ และเรื่องที่มีความเกี่ยวพันกับหัวข้อนี้ กฏหมายที่เราจะทำการศึกษาคือรัฐธรรมนูญของรัฐบาลกลาง กฎเกณฑ์ในท้องถิ่น รวมถึงปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ผู้เขียนจะนำเสนอข้อแนะนำให้คนที่กำหนดนโยบาย เพื่อให้ดูถึงความเหมาะสมของกฏหมาย หรือเพื่อให้ปรับเปลี่ยนกฏหมายในปัจจุบัน
© 2012 Published by Elsevier B.V. Selection and/or peer-review under responsibility of Centre for Environment-
Behaviour Studies(cE-Bs), Faculty of Architecture, Planning & Surveying, Universiti Teknologi MARA, Malaysia
Open access under CC BY-NC-ND license.
Keywords: Child; bride; marriage; rights; Convention on the Right of the Child
แปลโดย anywheretutor.net
1. บทนำ
ปัญหาในสังคม ณ ปัจจุบัน ดูเหมือนว่าจะมีการเพิ่มขึ้นในอัตราที่น่าตกใจ ปัญหาเช่น การคุกคามทางเพศกับผู้เยาว์ ปัญหาการทอดทิ้ง เด็กที่เกิดมาแบบไม่ถูกต้องตามกฏหมาย และเด็กผู้หญิงที่ถูกให้แต่งงานตั้งแต่เป็นผู้เยาว์ นั้นได้มีการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กรณีของเจ้าสาวที่เป็นผู้เยาว์นั้นไม่ใช่สิ่งแปลกใหม่ ยกตัวอย่าง ศาสดามูหะหมัด (ขอให้เขาอยู่อย่างสงบสุข) แต่งงานกับ Aisha เมื่อเธออายุเพียง 6 ปี ตัวอย่างอื่นที่เกิดขึ้นมาไม่นาน เช่นภาครัฐบาลกลางของมะละกาได้ประกาศให้นักเรียนผู้หญิงสามารถแต่งงานได้ หรือในประวัติศาสตร์ของประเทศอื่นเช่น อินเดีย บังคลาเทศ และประเทศอื่นๆในทวีปแอฟริกา ได้มีกรณีการแต่งงานของผู้เยาว์เกิดขึ้นมากมาย หนึ่งในเป้าหมายของผู้เขียนคือการป้องกันเด็กที่เกิดมานอกกฏหมาย ลดการมีเพศสัมพันอย่างเสรี (free sex) และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง อย่างใดก็ตาม มันก็สามารถกระตุ้นสังคมได้ และมีผู้คนมากมายตกใจกับคำแนะนำของภาคฝ่าย ผู้เขียนหวังที่จะถกถึงปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงานของผู้เยาว์ อะไรคือสิทธิของพวกเขาที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงานที่เป็นไปโดยระบบประมวลกฎหมาย (Civil law) และกฏหมายอิสลาม (Islamic laws)
2. การทบทวนวรรณกรรม (Literature Review)
2.1 เด็ก (Child)
Nik Noraini (1998, p.1) ได้สรุปว่าขั้นตอนที่ถูกยอมรับภายใต้กฏหมายของอิสลามที่จะเป็นตัวกำหนดว่าผู้หญิงจะเป็นผู้ใหญ่เมื่อใดนั้น จะถูกพิจารณาSอย่างถูกต้องตามกฏหมาย เมื่อผู้หญิงเริ่มที่จะมีประจำเดือน เด็กผู้หญิงจะเริ่มมีประจำเดือนอย่างเร็วสุดที่อายุ 9 ปี สำหรับเด็กผู้ชายจะถูกพิจารณาว่าเขาเป็นผู้ใหญ่เมื่อเขาเริ่มที่มีฝันเปียก (ผู้แต่งใช้คำว่า Night pollution หรือสำเร็จความใคร่ตอนกลางคืน) ที่อายุต่ำสุด 12 ปี ความหมายของคำว่าเด็กนั้นจะแตกต่างกันไป ใน รัฐบัญญัติ ที่เกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน ปี 1993 (Children and Young Person Act, 1933) คำว่าเด็ก หมายถึง ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 14 ปี (s107(1). ใน รัฐบัญญัติ เด็ก 1989 (Children Act 1989) หมายถึงผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี ปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ และอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC)ระบุไว้ว่าบุคคลที่อายุต่ำกว่า 18 ปี ยกเว้นกฏหมายที่เกี่ยวข้องมีระบุเกี่ยวกับถึงอายุของผู้ที่บรรลุนิติภาวะ (Convention on the Rights of the Child-UNICEF).
ภายใต้มาตราที่ 2 ของรัฐบัญญัติบรรลุนิติภาวะ (Age Of Majority Act 1971) ผู้ใดก็ตามที่อายุต่ำกว่า 18 ปี ยังถือว่าเป็นเยาวชน ซึ่งเยาวชนถือว่าไม่มีขอบเขตความสามารถที่จะทำสัญญาอะไรได้ แต่ว่ากฏนี้ไม่ถือว่าเป็นที่สุดซึ่งมีข้อยกเว้น คือเยาวชนสามารถที่จะทำสัญญาที่เกี่ยวกับ แต่งงาน หย่าร้าง สินสอดทองหมั้นและการรับเลี้ยงบุตรบุญธรรม ข้อยกเว้นอื่นๆคือเด็กสามารถที่จะทำสัญญาที่จำเป็นกับตัวเด็ก สัญญาที่จะนำประโยชน์มาสู่เด็ก เช่นทุนการศึกษาและการฝึกงาน หรือสัญญาที่เกี่ยวข้องกับประกันต่างๆ
วรรณกรรมของ (Noraini Ismail & Norazlina Abd Aziz, 2008, p. 7) เห็นด้วยว่า ความหมายของคำว่าเด็กที่ถูกชี้แจงไปด้านบน ถูกจัดหมวดหมู่เป็นแบบนั้น ภายใต้ของกฏหมายเพราะว่ามีเหตุผลอยู่ ปัจจัยหลักที่มีส่วนของการจัดหมวดหมู่แบบนั้นอยู่ที่ ความสามารถในการตัดสินใจในการแยกแยะว่าอะไรคือสิ่งที่ถูก หรือ ผิด และความสามารถที่จะมองเห็นถึงผลกระทบในกระกระทำของตนเอง ผู้เยาว์จะถูกควบคุมด้วยอารมณ์มากกว่าที่จะคิดเป็นหลักเกณแบบผู้ใหญ่ ซึ่งมันก็คือความจริงที่ว่าเยาวชนจะอยู่ในช่วงที่กำลังเติบโต ทั้งร่างกาย และ จิตใจ
2.2 การแต่งงานของผู้เยาว์ (Child Marriage)
ความหมายของคำว่าแต่งงานก็คือการเฉลิมฉลอง หรือขั้นตอนการจดทะเบียนความสัมพันธ์ระหว่างสามีและภรรยา วรรณกรรมของ (Mira Baz, 2010) รายงานว่า ประเพณีโบราณของการแต่งงานก่อนไว ยังมีอยู่แพร่หลายในประเทศที่ สหประชาชาติกำหนดว่าเป็นหนึ่งในประเทศที่จนที่สุดในโลก สามถึงห้าล้าน เด็กสาวเยเมนที่อยู่ในพื้นที่ชนบท โดยส่วนใหญ่จะแต่งงานตั้งแต่ยังไม่เข้าสู่ช่วงวัยรุ่นดี และบางทีก็เด็กกว่านั้น ซึ่งข้อมูลเหล่านี้มาจาก คณะกรรมการสตรีแห่งชาติ (Women’s National Committee)
2.3 ปัญหาของเจ้าสาววัยเยาว์ภายใต้กฎหมายชาริอะฮ์ (Issues of Child Bride under the Shariah Law)
ในหนังสือตีความสุนัต (construed a hadith) ของ Ahmad Ibrahim (1998, p. 15) ที่ถูกบรรยายโดย Hisham bin
'Urwa ในอำนาจของ Urwa ที่ท่านศาสดา’ เขียนว่า สัญญาการแต่งงานกับ Aisha เมื่อเธออายุ 6 ขวบ และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับเขาเมื่อเธออายุ 9 ปี และอยู่กับเขาต่อไปอีก 9 ปี (จนถึงวันที่เขาเสียชีวิต) (Sahih Al-Bukhari: 2003).
วรรณกรรมของ (Mimi Kamariah, 1996, p.20; Nik Noriani, 1998, p. 6) เห็นด้วยว่า อิสลามไม่มีข้อจำกัดของอายุในการแต่งงาน วรรณกรรมได้ยกคำพูดของ Aisha(r.a) และรายงานว่า ‘ศาสดา’ (peace be upon him) ได้แต่งงานกับฉันเมื่อฉันอายุ 6 ปี และฉันได้เข้าไปที่บ้านของเขาเมื่อตอนอายุ 9 ปี (Sahih Muslim:2003)
วรรณคดีระบุเป็นเอกฉันท์ในขณะที่พูดถึงเจ้าหน้าที่ชะรีอะห์ ว่ากฎหมายของรัฐถูกตรีตรา ภายใต้กฎหมาย ชะรีอะห์เด็กผู้หญิงมุสลิมที่อายุต่ำกว่า 16 สามารถแต่งงานได้ ถ้าเธอได้รับอนุญาตจากศาลชะรีอะห์ ศาลชะรีอะห์มีหน้าที่กำหนดทุกๆกรณี และกฏเกณของแต่ละคน ในรัฐแรกๆของประเทศมาเลเซียคือรัฐ ยะโฮร์ (Johor) กำหนดว่าการแต่งงานจะไม่เกิดขึ้นถ้าผู้หญิงอายุต่ำกว่า 16 ปี และผู้ชายอายุต่ำกว่า 18 ปี ยกเว้นหากมีเหตุผลที่ผ่านการอนุมัติจาก Kadi Besar (Islamic Family Law Enactment:1990) บทบัญญัตินี้ถูกจารึกไว้ในมาตรา 18 ใน IFLA(Islamic Family Law Act-Federal Teritory) 1984
ผู้เขียน (Abdul Yazid Alias, 2010) ได้ยกตัวอย่างคำพูดของ Mufti Selangor, Datuk Tamyes Abdul Wahid and Menteri Besar Kelantan, Dato Nik Aziz เขียนว่าคู่บ่าวสาวควรที่จะยินยอมเป็นเอกฉันท์ และเจ้าสาวไม่ควรถูกชี้นำให้แต่งงาน ผู้ที่ใช้หะดีษถูกกล่าวว่าใช้เพียงเพื่อตัวเอง และไม่ได้ใช้เพื่อเดินไปตามทางศาสนาอิสลาม และเป้าหมายของการแต่งงาน
ในฉบับ ‘Wali’ (Mimi Kamariah,1999, p. 15;Ahmad Ibrahim, 1996, p.16) ของผู้เขียนกฏหมายของครอบครัว (family laws) ได้กล่าวถึงโรงเรียน shafi’i’ ที่กำหนดว่าถ้าเด็กผู้หญิงเป็นเยาวชน หรือยังไม่ถึงวัยที่มีประจำเดือน จำเป็นต้องให้พ่อของเธอหรือพ่อของพ่อเป็นผู้ปกครองในงานแต่งงาน ผู้เขียนยังได้กล่าวถึงโรงเรียนอื่นในอิสลามเช่น โรงเรียน Hanafi ว่าเด็กผู้หญิงที่แต่งงานออกไปในขณะที่ยังเป็นเยาวชนอยู่ เมื่อถึงวัยที่มีประจำเดือน สามารถประกาศการแต่งงานได้ วรรณกรรมของ Salmah and Fatimah, Infants v Soolon(1978) 1 Ky 421 เห็นด้วยเกี่ยวกับการตัดสินของศาลที่นำหลักเกณของโรงเรียน Hanafi ไปใช้ ที่สามารถให้แต่งงานได้เมื่อถึงวัยประจำเดือนมา โดยที่ไม่ต้องมีผู้ปกครองเซ็นยินยอม ในกรณีของ เด็กผู้หญิงอาหรับ โรงเรียน shafi’i’ ที่มีอายุถึงวัยประจำเดือน หากต้องการที่จะแต่งงานกับ เด็กผู้ชายอินเดียมุสลิม แต่ผู้ปกครองของเธอไม่ยินยอมที่จะให้แต่งงาน เหตุผลคือเด็กผู้หญิงอาหรับจะไม่สามารถแต่งงานกับชายที่ไม่ได้มีเชื้อชาติเดียวกันได้ เธอแต่งงานกับชายอินเดียโดยที่ไม่ได้รับการยินยอมจากผู้ปกครอง และผู้ปกครองได้ยื่นขอคำสั่งศาลเพื่อที่จะระงับการเข้าร่วมเป็นอันหนึ่งเดียวกัน (consummation) ศาลในตอนต้นได้เห็นด้วยกับผู้ปกครอง แต่ภายหลังเด็กหญิงได้ประกาศว่าเธอเป็นส่วนถึงของ Shafi’i’ และซึมซับ โรงเรียน Hanafi เธอยื่นขอยกเลิกคำสั่งศาล และศาลเห็นด้วยกับคำขอของเธอและยกเลิกคำสั่งระงับ
2.4 ปัญหาของเจ้าสาววัยเยาว์ภายใต้ระบบประมวลกฎหมาย (Issues of Child Bride under the Civil Law)
ภายใต้ระบบประมวลกฏหมาย (Civil law) the Law Reform (Marriage and Divorce) Act, 1976 ที่ถูกนำมาใช้กับผู้ที่ไม่ใช่มุสลิม การแต่งงานจะเกิดขึ้นได้เฉพาะผู้ที่อายุมากกว่า 18 ปี แตทว่า ถ้าผู้หญิงอายุ 16 ปีขึ้นไปสามารถแต่งงานได้ โดยที่ต้องได้รับใบอนุญาตจากหัวหน้าคณะรัฐมนตรี หรือ Menteri Besar
ธรรมชาติของการแต่งงานจะต้องมีการทำสัญญา การที่ผู้เยาว์ไม่มีความสามารถที่จะทำสัญญาได้นั้นถูกคำนึงถึงโดยมีการป้องกันผลกระทบของผู้เยาว์ที่มาจากการกระทำของตัวเอง และการที่ไม่สามารถตัดสินใจเรื่องนี้ได้ตนเอง (Beatrix Vohrah & Wu Min Aun, 2000). ความคิดเห็นในวรรณกรรมถึงกรณี Rajeswaryv Balakrrishnan[1958]3MC178 เห็นด้วยกับทางศาลว่าให้แยกประเด็นของกรณี Mohori Bibee เกี่ยวกับความเป็นจริงที่ว่า สัญญาในกรณีนั้นเป็นสัญญาทางธุรกิจ ไม่ใช่สัญญาเพื่อที่จะแต่งงาน โจทก์ในกรณีนี้เป็นผู้เยาว์ที่ได้เข้าทำสัญญาแต่งงาน จำเลยได้ละเมิดข้อสัญญา และได้ยื่นฟ้องต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น เหตุนี้ทำให้เป็นบรรทัดฐานให้ผู้เยาว์ไม่สามารถที่จะลงนามสัญญาการแต่งงานได้ ในกรณีของ Khimji Kuverji v Lalji Karamsi AIR 1941 Bom 129 ก็ได้มีการพูดถึงและในไปใช้ในกรณีของ Rajeswary กรณีของ Rajeswary ได้ถูกระบุไว้ว่าเยาวชนสามารถที่จะลงนามในการแต่งงานได้

เราสามารถสรุปได้ว่า ไม่มีเกณอายุต่ำที่สุดที่อนุญาตให้แต่งงานได้ภายใต้กฏหมายของอิสลาม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ปัญหาของเจ้าสาววัยเยาว์ไม่ใช้ปัญหาที่ละเมิดกฏของชะรีอะห์ ถึงกระนั้นระบบประมวลกฎหมายมีการโต้เถียงลักษณะของข้อโต้แย้งที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่การแต่งงานของเด็ก เป็นการละเมิดกฏในมาเลเซีย
กฏชะรีอะห์ และ ระบบประมวลกฎหมาย ระบุเหมือนกันว่าการแต่งงานนั้นคล้ายกับ Civil contact แต่ก็ยังมีความแตกต่างเมื่อพูดถึงความรับผิดชอบของแต่ละฝ่ายในสัญญา
3. ระเบียบวิธี Methodology
การศึกษานี้ ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ จะถูกคาดการในสองขั้นตอน ซึ่งจะนำมาจากแหล่งข้อมูลหลัก และ แหล่งข้อมูลรอง ในส่วนแรกคือการวิจัยจากฐานข้อมูลในห้องสมุด และหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลหลัก ซึ่งจะรวมไปด้วย กฏหมายของมาเลเซีย นโยบายของรัฐบาลกลาง และ ตุลาการ คำตัดสินของ Malaysian Bar Council และ the state bars ข้อมูลแหล่งที่สองจะรวมไปด้วยข้อมูลที่ได้ทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งมากจาก CLJ Law, LexisNexis, Ebscohost, Science Direct, Springerlink, Proquest and Emerald และหลักฐานที่มีบันทึกไว้ เช่น สถิติ รายงานที่เกี่ยวข้อง และการใช้งานนโยบายที่ยอมรับได้ของ ISP company and proceedings.

4. ผลและการอภิปราย (Results and Discussions)
4.1 การยินยอมของทุกฝ่าย
ตามที่โรงเรียนกฏหมาย Shafii ระบุไว้ว่า การยินยอมของฝ่ายเจ้าสาวนั้นสำคัญมากสำหรับการแต่งงาน ยกเว้นในกรณีหญิงพรหมจารีที่ยังไม่ผ่านเพศสัมพัน ถูกให้แต่งงานโดยพ่อ หรือปู่ตาของเธอ Surah An Nur (24):32:
“จงแต่งงานกับคนในกลุ่มคุณที่ยังโสด หรือ คนที่มีคุณธรรมในหมู่พวกคุณ ไม่ว่าจะผู้ชายหรือผู้หญิง ถ้าเขาจน พระเจ้าจะมอบให้พวกเขาโดยจากพระคุณของพระองค์ พระเจ้าคือทุกสิ่ง และรับรู้ทุกอย่าง”
Ayesha รายงานว่าข้อความของ Allah(pbuh) กล่าวว่า
“การแต่งงนของหญิงสาวที่ไม่ได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองของเธอ จะไม่มีผลอะไร” เขากล่าวคำพวกนี้ 3 รอบ (Sunan Abu Dawud Kitab al-Nikah vol 2)
มุมมองถูกสรุปลงใน Minhaj-et-Talibin:
คนเป็นพ่อสามารถปล่อยมือของลูกสาวเขาได้ตามใจเขา โดยที่ไม่ต้องถามความยินยอม ไม่ว่าเธอจะอายุเท่าไหร่ก็ตาม ตราบเท่าที่เธอยังบริสุทธิ์อยู่ แต่จะน่ายกย่องกว่าถ้าได้ถามความต้องการของเธอเกี่ยวกับคนที่จะมาเป็นสามีในอนาคต ความยินยอมจากเธอเป็นสิ่งจำเป็นหากว่าเธอได้สูญเสียพรหมจรรย์แล้ว (Nawawi: 1914)
ในกรณีของ Syed Abdullah Al-Shatiri v Shariffa Salmah [1959] MLJ 137 ผู้อุทธรณ์ได้ตั้งใจจัดงานแต่งระหว่างลูกสาวตนเองกับ Syed Idros แต่ลูกสาวเขาได้ต่อต้านการแต่งงาน ผู้อุทธรณ์ได้แพ้ในศาลขั้นต้น ซึ่งทำให้เขาขออุทธรณ์ จนท้ายที่สุด คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ได้ข้อสรุปว่าการแต่งงานนั้นนั้นถูกต้องและยกเลิกคำสั่งของศาลอิสลาม
Syed Idros ถูกพบว่าได้หมดความสนใจในการแต่งงานของเขา และท้ายสุดก็ได้หย่าร้างกับภรรยาของเขา กฎหมายอิสลามของมาเลเซียได้ให้ความสำคัญกับการยินยอมที่จะให้แต่งงานของผู้ปกครอง แต่ว่าสิทธิของผู้ปกครองสามารถถูกสอบถามได้จากฝ่ายที่ต้องการที่จะแต่งงาน หากว่าครอบครัวของอีกฝ่ายได้มีการปฎิเสธการยินยอมโดยที่ไม่มีเหตุผลที่ดีพอ (section 13 of Islamic Family Law (Federal Territories:1984; Kelantan Islamic family Law Enactment 1983; Kedah Islamic Family Law Enactment 1984;Johor Islamic Family Law Enactment 1990).
ในระบบประมวลกฏหมาย(Civil law) อ้างอิงจาก the Law Reform (Marriage and Divorce) Act, 1976 การรยินยอมและเห็นด้วยของทั้งสองฝ่ายนั้นมีความสำคัญมาก การใช้กำลังหรือการข่มขู่เพื่อให้อีกฝ่ายยอมตกลงที่จะแต่งงาน หรือเพื่อที่จะขัดขวางการแต่งงานสำหรับบุคคลที่อายุถึง 21 ปีนั้นถือว่าเป็นความผิดที่มีผลต่อกฏหมาย (Law Reform (Marriage and Divorce) Act 1976).

4.2 มุมมองในระดับนานาชาติเกี่ยวกับสิทธิของเด็ก (International View on Rights of Children)
สิทธิของเด็กที่ถูกให้ความสำคัญและถูกปกป้องอย่างมากใน อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิเด็ก หรือ CRC ประเทศมาเลเซียได้ยอมรับ CRC ตั้งแต่ปี 1995 เยเมนได้เน้นเรื่องนี้เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา และไม่มีการประท้วงเกิดขึ้นกับการแต่งงานของผู้เยาว์ (Mira Baz, 2010). องค์กรสำหรับพัฒนาพื้นที่ท้องถิ่น และประกอบไปด้วยองค์การสหประชาชาติ หน่วยงานต่างๆ และ องค์กรพัฒนาเอกชนต่างชาติ(NGOs)หลายแห่ง ได้เกลี้ยกล่อม ตั้งแต่ปี 2000 ให้กฏหมายของการแต่งงานกับเด็กหญิงที่อายุต่ำกว่า 18 ปี เป็นความผิดอาญา เมื่อปีที่แล้ว ร่างกฏหมายตกลงกันไว้ว่าอายุที่อนุญาตให้แต่งงานได้คือ 17 ปี แต่ก็ไม่ประสบผลในรัฐสภา เนื่องจากมีหลายฝ่ายได้เคลื่อนไหวและแสดงความไม่เห็นด้วยและใช้เหตุผลถึงการอนุรักษ์นิยม
ถึงแม้จะมีหลากหลายประเทศออกกฏหมายที่อนุญาตให้แต่งงานด้วยอายุขั้นต่ำ 16 ถึง 18 ปีก็ตาม แต่ทว่า หลายแห่งก็ยังใช้วิธีที่ยังขึ้นอยู่กับอำนาจของศาล และประเพณีการแต่งงานที่ใช้กันมานาน ความยากจน ศาสนา ประเพณี และความขัดแย้ง ทำให้เหตุการณ์ของการแต่งงานกับผู้เยาว์ในฝั่ง ทะเลทรายซาฮาราแอฟริกา มีสถานการณ์คล้ายกับทางฝั่งเอเชียใต้ (Nour, Nawal M, 2006). ภายใต้ CRC สิทธิของเด็กมีดังนี้
- สิทธิที่จะดำรงชีวิต (The right to survive)
เด็กมีสิทธิในชีวิตของตัวเขา การมีชีวิตไม่ใช่แค่ว่ามีชีวิตอยู่ แต่ว่ามันหมายถึงการที่มีความสุข และรู้สึกสงบสุขกับตัวเอง โดยที่มีผู้อื่นอยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวเขา เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะดำรงชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม เช่นได้รับอาหารที่มีประโยชน์ หรือได้รับการรักษาถ้าเจ็บป่วย ถุกคนมีสิทธิแม้กระทั่งคนที่ป่วยเป็นโรค HIV มีสถานะยากจน หรือพิการ ทุกคนมีสิทธิ์ได้รับมากกว่าแค่การมีชีวิตอยู่
- สิทธิในการถูกปกป้อง (Protection rights)
ไม่มีบุคคลใดมีสิทธิ์ที่จะทำร้ายเด็ก ไม่ว่าจะเป็นทางร่างกายหรือด้านจิตใจ เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับการปกป้องจากการเอารัดเอาเปรียบ และภัยอันตราย เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะเรียนรู้ถึงวิธีป้องกันตนเองและเข้าหาความช่วยเหลือ จากการละเมิดทุกอย่าง จากรายงานของสหประชาชาติ การแต่งงานในเยาวชนถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน (human rights) โดยที่ให้เด็กผู้หญิงพวกนี้ไปอยู่ในชีวิตที่โดดเดี่ยวและถูกกักขัง การบังคับบริการ และการไม่ให้เข้าถึงการศึกษา พร้อมทั้งมีปัญหาด้านสุขภาพ และถูกละเมิด (Sheri & Bob Stritof: 2010). ในงานวิจัยของ UNICEF บอกว่า “ UNICEF เชื่อว่า การแต่งงานในผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 18 อาจจะเป็นการข่มขู่ และละเมิดสิทธิมนุษยชนของเด็ก (รวมถึงสิทธิในการเข้าถึงการศึกษา การพักผ่อน สุขภาพที่ดี เสรีภาพในการแสดงออก และ ปลอดจากการเลือกปฏิบัติ) การแต่งงานในวัยเด็ก การทำรุนแรงทางเพศ อวัยวะทางเพศของผู้หญิง การทำร้ายโดยของมีคม และแรงงานเด็ก พวกนี้ทำให้เด็กผู้หญิงไม่สามารถมีความสุขจากความเท่าเทียมทางเพศได้ เรื่องพวกนี้จะต้องถูกป้องกัน และ แก้ไขไม่ให้เกิด และต้องให้เป็นส่วนหนึ่งของการริเริ่มในระดับโลกเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่สตรี (UNICEF: 2010)
- การพัฒนาของสิทธิ (Development rights)
เด็กทุกคนมีสิทธิ์ในการได้รับการศึกษา เพื่อที่จะพัฒนาบุคลิคและความสามารถ พวกเขามีสิทธิ์ที่จะพัฒนาความสามารถทางจิตใจและร่างกาย ทั้งหมดนี้เพื่อเตรียมพร้อมพวกเขาให้เติโตมาเป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบในสังคม พวกเขาควรได้รับโอกาศที่จะเรียนรู้ และได้รับการเคารพจากผู้เป็นพ่อแม่ ทางสังคม และประเทศของพวกเขา
- สิทธิในการเข้าร่วม (The right to participate)
ทุกๆองค์กรทำงานเกี่ยวกับเด็ก ถูกแนะนำว่าให้ทำงานเพื่อประโยชน์สูงสุดที่เด็กควรจะได้รับ เด็กทุกคนมีสิทธิ์ที่จะได้รับข้อมูลที่ดีที่สามารถช่วยพวกเขาได้ ดังนั้น สื่อต่างๆควรที่จะให้ข้อมูลที่พวกเขาสามารถเช้าใจได้ง่าย และไม่ควรสนับสนุนสิ่งต่างๆที่จะสามารถทำร้ายเด็กได้
4.3 สิทธิของเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงาน (Rights of Minors with Regards to Marriage)
มีคำถามถูกตั้งขึ้นมาถามว่า เราควรจะคำนึงการแต่งงานเพื่อที่จะป้องกันไม่ให้มีการเพิ่มขึ้นของการเกิดเด็กที่ไม่ถูกกฏหมายหรือไม่? หรือว่าการแต่งงานของเด็กสามารถช่วยให้มีการลดจำนวนของการทอดทิ้งเด็กแรกเกิดได้หรือไม่?
ภายใต้ กฏหมายอิสลาม เด็กผู้หญิงมุสลิมจะต้องแต่งงานเมื่อถึงวัยที่มีประจำเดือน ศาสนามุสลิมนั้นใช้กฏหมายของอิสลาม
คำมั่นสัญญาแต่งงานเป็นการเห็นด้วยของพ่อแม่ของทั้งสองฝ่าย ที่เป็นตัวแทนของเด็กนั้นถือว่าถูกต้องตามกฏหมาย ใน Rajeswary & Anor v. Balakrishnan & Ors(1958) 3 MC 178 ในศาลชั้นสูง หลังจากเหตุการของเด็กชาวอินเดีย ถือว่าอายุที่จะสามารถลงนามสัญญาแต่งงานนั้น จะแตกต่างจากสัญญาประเภทอื่น ซึ่งสัญญาประเภทนี้จะไม่ได้ใช้ตามกฏทั่วๆไป การตัดสินใจทางกฏหมายในแต่ละกรณีถือเป็นสิ่งที่จะต้องทำตาม ดูเหมือนว่าเยาวชนมีสิทธิที่เกี่ยวข้องกับการแต่งงาน สำหรับบุคคลที่ไม่ใช้มุสลิมจะอยู่ภายใต้ หมวดที่10 ของ the Law Reform (Marriage and Divorce) Act 1976 เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กที่อายุไม่ถึงเกณแต่งงานก่อนวัย
ประโยค (1) ของบท 5 ในรัฐธรรมนูญ ระบุไว้ว่า ไม่มีบุคคลใดที่จะถูก ลิดรอนสิทธิ์เสรีภาพส่วนบุคคล ในบท 5(1) และ 8(1) ใน รัฐธรรมนูญ เพื่อที่จะปกป้อง และ ป้องกันชีวิต โดยเฉพาะในมาเลเซีย ที่ไม่มีกฏหมายที่ชัดเจนถึงการไม่อนุญาตให้มีการแต่งงานของเยาวชน ทุกฝ่ายที่มีส่วนทางกฏหมายนี้เช่น Law Reform (Marriage and Divorce) 1976 หรือ กฏหมายอิสลาม (ขึ้นอยู่กับรัฐที่เกี่ยวข้อง) ดังนั้นเด็กสามารถแต่งงานได้ถ้าพวกเขาต้องการ แต่ทว่าเขาจะต้องอยู่ภายใต้กฏหมายที่ระบุไปข้างต้น
ถึงแม้ว่ากฏหมายอิสลามและระบบประมวลกฎหมายให้สิทธิในการแต่งงานของเยาวชน บทบัญญัติในอนุสัญญาเด็ก (Convention of the Child) ให้การคุ้มครองเด็ก เมื่อเกิดการขัดแย้งของกฏหมาย ให้การตัดตินอยู่ที่หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น โดยเปรียบเทียบกับ CRC ไม่ว่าอย่างไร ด้วยกฏหมายนี้ ทุกฝ่ายก็ไม่ควรเอาเปรียบและหาประโยชน์จากเด็ก โดยเฉพาะในเด็กเล็ก เพราะพวกเขายังไม่มีความรู้มากพอเกี่ยวกับการแต่งงาน โดยเฉพาะพวกเขายังไม่รู้ถึงความรับผิดชอบดีพอ
4.4 สถานการณ์ในมาเลเซีย (The situation in Malaysia)
ถึงตอนนี้ ยังไม่มีกฏหมายใดในมาเลเซียที่จะยับยั้ยการเต่งงานของเยาวชน แต่ว่า ทุกคนที่แต่งงานจะต้องอยู่ภายใต้กฏหมาย อย่างเช่น กฏหมายอิสลาม หรือ ระบบประมวลกฎหมาย สำหรับบุคคลที่อายุถึง 16 ปี หรือมากกว่า สามารถแต่งงานโดยได้รับการยินยอมจากผู้ดูแลของเขา หรือ Kadhi หรือ หัวหน้าคณะรัฐมนตรี หรือ Menteri Besar (สำหรับผู้ที่ไม่ใช่ มุสลิม) ชาวมาเลเซียได้เกิดการตื่นตระหนกเมื่อได้รับช่าวเกี่ยวกับ พ่อให้ลูกสาวอายุ 11 แต่งงานกับเพื่อนของเขาที่อายุ 41 ปี หนำซ้ำ เจ้าบ่าวได้การแต่งงานมาแล้ว 3 รอบ (Mohamad Isa Abd Ralip, 2010).
คำถามและปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การแต่งงานพวกนี้ทำให้ไม่สามารถระบุจำนวนเด็กที่เกิดมาแบบไม่ถูกกฏหมาย หรือเด็กที่ถูกทอดทิ้งได้ ผู้เขียนเห็นด้วยกับความเห็นว่า ให้มีความพอดีที่เป็นธรรม และให้ดูถึงความต้องการทั่วไปของสังคม และการปกป้องสิทธิในการแสดงออกถึงการแต่งงานของเด็ก
การให้ถึงเหตุผลที่ว่าเราควรที่จะอนุญาตให้เด็กแต่งงานได้ไหมนั้น ถูกนำไปใช้ในรัฐบาลของมะละกา โดยที่ เด็กนักเรียนผู้ชายอายุต่ำกว่า 18 ปี ละเด็กนักเรียนผู้หญิงอายุต่ำกว่า 16 ปี สามารถแต่งงานได้ถ้าได้รับการยินยอมจากครอบครัวและจากศาลทางศาสนา โดยที่ขึ้นอยู่กับรายละเอียดในแต่ละกรณี แต่สุดท้าย การตัดสินใจที่จะแต่งงานกก็อยู่ในตัวเด็ก เราเชื่อว่าวิธีนี้เป็นหนึ่งในวิธีที่จะช่วยป้องกันการเกิดของเด็กที่ไม่ถูกกฏหมาย ลดปริมาณเด็กที่ถูกทิ้ง ปัญหาทางเพศ การมีเพศสัมพันก่อนแต่งงาน การมีเพศสัมพันอย่างเสรี (free sex) และปัญหาอื่นๆอีกมากมาย ถ้าการแต่งงานของเยาวชนสามารถแก้ไขปัญหาของเด็กเกิดนอกกฏหมาย หรือ การทอดทิ้งเด็กได้ เราเห็นด้วยและคิดว่าควรมีการอนุญาตให้เกิดขึ้นได้ แต่จนถึงวันนี้ ผู้เขียนแนะนำให้กฏหมายยังคงอยู่เหมือนเดิม แต่ทว่า ผู้เขียนก็ไม่เห็นด้วยเกี่ยวกับแนวคิดที่ให้เยาวชนแต่งงานก่อนไว ยกตัวอย่าง ในเด็กที่อายุ 5 ชวบ ถ้าเด็กพวกนี้เข้าสู่วัยรุ่นและอยู่ในช่วงวัยแรกรุ่น เราสามารถคำนึงได้ว่าการตัดสินใจพวกนี้เป็นการตัดสินใจที่คิดถี่ถ้วนดีแล้ว แต่สำหรับเด็กเล็กๆ มันจะนำพามาสู่อันตราย และการละเมิดต่อเด็ก
ผู้เขียนอยากเน้นย้ำบางจุดในปัญหานี้ ยกตัวอย่าง การที่ผู้ใหญ่แต่งงานกับเด็ก เขาควรที่จะได้รับโทษที่รุนแรง สำหรับเด็ก เธออาจจะไม่เข้าใจถึงผลกระทบของการแต่งงาน หรือความรับผิดชอบที่กำลังรอเธออยู่ หนังสือยินยอมจากทุกฝ่าย จากครอบครัว โดยเฉพาะจากฝ่ายเจ้าสาวควรจะต้องถูกดูและคำนึงถึง ทำให้เป็นเอกสารสำคัญและจำเป็น ไม่ฉะนั้นการแต่งงานจะไม่มีผล
อายุที่แต่งงานได้ก็เป็นอีกจุดที่สำคัญ จุดนี้ควรจะเป็นส่วนสำคัญและถูกใช้อย่างจริงจังและยึดมั่นโดยทุกคน ถึงแม้ว่าใน บทบัญญัติและกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการสมรส จะถูกกำหนดแล้ว แต่ทว่าสังคมก็ยังไม่สนใจที่จะทำตาม ผู้เขียนเห็นด้วยว่าสำหรับมาเลเซีย คนที่ไม่ใช่มุสลิมอายุที่แต่งงานได้ควรเริ่มจาก 16 ปีขึ้นไป ถ้าเด็กต้องการจะแต่งงานก่อนวัยนี้ควรได้รับการยินยอมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
คนที่กำหนดนโยบายก็ควรที่จะ ใช้แนวทางแบบเสรีนิยมเมื่อทำการตัดสิน เพื่อให้มีความเท่าเที่ยมกับความต้องการของสังคมที่ต้องการที่จะป้องกันการเกิดการท้องก่อนวัยในมาเลเซีย และกรณีที่เกิดไม่นานมานี้ ที่เด็กทารกถูกทิ้งโดยแม่ที่ไม่ได้แต่งงาน และข้อกำหนดของการปกป้องสิทธิในการแสดงออกถึงความต้องการแต่งงานในเด็ก
5. บทสรุป (Conclusion)
หลังจากแต่งงานไม่ได้หมายความว่าปัญหาทางสังคมสามารถแก้ไขได้ทันที ทุกเวลา หรือแค่ข้ามคืน การแต่งงานของเด็กที่อายุน้อยจะไม่ช่วยให้ปัญหานั้นเบาลง การนำคำสอนของ Rasulullah (pbuh) มาปฏิบัติ ไม่ควรจะเป็นเหตุผล เพราะสิ่งที่ Rasulullah เห็นในช่วยอายุของเขาไม่ได้นำระบบทาสมาใช้ประโยชน์ และระบบทาสยังถือว่าเป็นธรรมเนียมปกติ เขาปกป้องเด็กและสตรีตามคำของอัลลอฮ์ อิสลามไม่ได้ห้ามการแต่งงานประเภทนี้ ถึงกระนั้น อิสลามก็ปกป้องเด็กและสตรี ดังนั้นการตัดสินใจที่จะแต่งงานควรขึ้นอยู่กับเด็ก ซึ่งมันก็แตกต่างไปในแต่ละกรณี มันมีวิธีอีกมากมายที่จะแก้ปัญหาสังคม เช่นการป้องกันไม่ให้เกิดความคิดของสังคมที่เป็นปัญหาตั้งแต่แรก การศึกษาทางเพศก็อาจจะช่วยได้ถ้าสอนอย่างถูกวิธี ความรู้ทางศาสนาก็สำคัญเหมือนกันเพื่อที่ป้องกันโรคจิตป่วยในสังคม ผู้เขียนเชื่อว่า การศึกษาที่เริ่มต้นจากที่บ้านเป็นเครื่องมือที่ดีที่สุดที่จะช่วยป้องกันสิ่งพวกนี้ไม่ให้เกิดขึ้น สิ่งที่พวกเราต้องทำคือ ใส่ใจ ให้ความรักและเอาใจใส่กับเด็กๆของเรา เด็กคืออนาคตของเราในวันข้างหน้า
English to Thai: A Comparative Study on Government Policy Regarding Small-sized Schools in China and Thailand: A Case Study of Shangyou County in Ganzhou City, China and Nam Phong District in Khon Kaen, Thailand
General field: Other
Detailed field: Education / Pedagogy
Source text - English
Abstract
This research investigated government policies regarding small-sized schools in China and Thailand. The objectives of the study were: 1) To study the current situation of small-sized schools in two places; 2) To analyze the problems of small-sized schools faced by two case schools; and 3) To compare the policies adopted by two local governments.
The data were obtained from two case schools, Taozhu Primary School in Shangyou County, China and Phrathat Kham Kaen Pittayalai School in Nam Phong District, Thailand. The key informants included school administrations, teachers, students and parents from these two schools, totaling 22 people. Data analysis mainly applied the case study method in qualitative research.
It was found that the small-sized schools in both places face problems and challenges. The same problems of small-sized schools in both places were: 1) The heavy workload of teachers; 2) The lack of professional teachers, multimedia sources and scientific laboratory equipment; and 3) The students are mostly left-behind children with a lack of family education and weak learning ability. A difference between the two case study schools is that there is a relatively lower level of teacher education in the Taozhu Primary School, and teachers lack in-service training opportunities.
The policies implemented by the Shangyou County government include the Specially Contracted Teachers Plan, the Nutri-meal Plan, the Weak School Reform Plan and the Curriculum Reform Plan. Nam Phong District is implementing a project on School-based Management for Local Development and an Opportunity Expansion School model.
Translation - Thai
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษานโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวกับโรงเรียนขนาดเล็กในประเทศจีน และประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้มีดังนี้ 1) ศึกษาเกี่ยวกับสถานการณ์ในปัจจุบันในโรงเรียนขนาดเล็กของทั้งสองสถานที่ 2) เพื่อวิเคราะห์ถึงปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กที่ทั้งสองโรงเรียนพบเจอ 3) เพื่อเปรียบเทียบนโยบายที่ถูกใช้โดยรัฐบาลท้องถิ่นของทั้งสองประเทศ
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษานี้ได้มาจากสองกรณีศึกษาของทั้งสองโรงเรียน โรงเรียนประถมเตาจู (Taozhu Primary School) ในเขต Shangyou ประเทศจีน และโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย ในอำเภอน้ำพอง ประเทศไทย ผู้ที่ให้ข้อมูลแก่งานวิจัยนี้ได้แก่ ฝ่ายบริหาร ครู นักเรียน และผู้ปกครองของทั้งสองโรงเรียน จำนวนทั้งหมด 22 คน ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์นั้นถูกใช้ในขั้นตอนของกรณีศึกษาในการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research)
จากการศึกษานั้นทำให้เราพบว่าทั้งสองโรงเรียนขนาดเล็กเจอปัญหาและความท้าทายต่างๆ ปัญหาที่ทั้งสองโรงเรียนเจอเหมือนกันคือ 1) ครูประสบปัญหางานที่หนักเกินไป 2) การขาดแคลนของครูมืออาชีพ สื่อการสอนที่มีคุณภาพ และอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ และ 3) นักเรียนส่วนมากถูกทิ้งขว้างโดยที่ไม่มีการสั่งสอนจากทางบ้าน และความสามารถในการเรียนรู้ที่ต่ำ ข้อแตกต่างระหว่างสองโรงเรียนในกรณีศึกษา คือการศึกษาของครูในโรงเรียนเตาจูต่ำกว่าครูในโรงเรียนพระธาตุขามแก่นพิทยาลัย และครูในเตาจูไม่มีโอกาศที่จะถูกอบรมเกี่ยวกับการเรียนการสอน
นโยบายที่ถูกนำไปใช้ในโดยรัฐบาลในเขต Shangyou นั้นมี นโยบายที่เกี่ยวกับแผนการทำสัญญาพิเศษของครู(Specially Contracted Teacher Plan) แผนการโภชนาการ (the Nutri-meal Plan) แผนการปรับปรุงโรงเรียนที่ด้อยคุณภาพ (Weak School Reform Plan) และแผนการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา (Curriculum Reform Plan) ในอำเภอน้ำพองมีการนำแผนงานการบริหารแบบโรงเรียนดูแลตัวเอง(School-based Management) เพื่อการพัฒนาพื้นที่ในเขต และการพัฒนากลยุทธ์การบริหารเพื่อมุ่งประสิทธิผลของโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา ( Opportunity Expansion School model)
Thai to English: Factors farmers used for the selection of Khon kaen 3 sugarcane species in Nong Makha, Dan Chang, Suphan buri province.
General field: Science
Detailed field: Agriculture
Source text - Thai
การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย และเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกพันธุ์อ้อยขอนแก่น 3 ของเกษตรกร ในปีการเพาะปลูก 2559/60กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรผู้ปลูกอ้อยโรงงานในตำบลหนองมะค่าโมง อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 400 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกพันธุ์อ้อยขอนแก่น 3โดยวิธี Logistic Regression Analysis

ผลการศึกษา พบว่า มีเกษตรกรที่เลือกใช้พันธุ์อ้อยขอนแก่น 3 จำนวน 236 ราย และเกษตรกรที่เลือกใช้พันธุ์อ้อยอื่น ๆ จำนวน 146 ราย สำหรับกลุ่มเกษตรกรที่เลือกใช้พันธุ์อ้อยขอนแก่น 3 จะมีค่าเฉลี่ยการได้รับความรู้/การอบรมเกี่ยวกับพันธุ์อ้อย ค่าความหวาน รายได้จากการขายอ้อย และการไว้ตอ สูงกว่าเกษตรกรที่เลือกใช้พันธุ์อ้อยอื่น ๆ ส่วนค่าเฉลี่ยอายุ การศึกษา และคะแนนความรู้การต้านทานโรคและแมลง จะต่ำกว่าเกษตรกรที่เลือกใช้พันธุ์อ้อยอื่น ๆ อีกทั้งเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม ส่วนใหญ่ไม่ได้เป็นลูกไร่ของโควตาอ้อย และคิดว่าสภาพดินไม่เหมาะสมกับการปลูกพันธุ์อ้อยขอนแก่น 3 โดยปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกพันธุ์อ้อยขอนแก่น 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ อายุ การศึกษา การได้รับความรู้/การอบรมเกี่ยวกับพันธุ์อ้อย ค่าความหวาน รายได้จากการขายอ้อย การเป็นลูกไร่ของโควตาอ้อย การต้านโรคและแมลง การไว้ตอ และสภาพดิน โดยเพศ ประสบการณ์ในการปลูกอ้อย ผลผลิตต่อไร่ อายุเก็บเกี่ยว การทนแล้ง และแหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูก ไม่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้พันธุ์อ้อยขอนแก่น 3

Translation - English
Abstract
The objective of this research is to study the general condition of Sugarcane farmers, and to study the effect of factors that influent the decision making of Khon kaen 3’s sugarcane’s farmer in the harvesting year of 2016-17. The sample group of 400 farmers used in this study are sugarcane farmers in Nong Makha, Dan Chang, Suphan buri province. The research tools used to collect information in this paper are survey, and tool to analyze factors for decision making is Logistic Regression Analysis.
The result of this study shows that there are 236 farmers who chose Khon Kaen 3 sugarcane and 146 farmers chose other species. It can be seen that farmers that used Khon Kaen 3 will have a higher average score in knowledge/received training, sweetness level, net profit, and stump management than farmer that chose other species. The average age, education, and knowledge in disease and insect control are lowered than farmers that chose other species. The majority of farmers in both sample groups didn’t have any special agreement with the sugar manufacturer to sell directly with a certain quota. Also they believe that the soil condition isn’t suitable for Khon Kaen 3 sugarcane. The critical factors for consideration of Khon kaen 3 sugarcane based on the statistic are: age, education, knowledge/received training, sweetness level, net profit, special quota, knowledge in disease and insect control, stump management, and soil condition. Other factors such as gender, experience, quantity of harvest, harvesting time, drought resistance, water sources, doesn’t have any influent in the selection of Khon Kaen 3 sugarcane

Translation education Bachelor's degree - Swinburne University of Technology
Experience Years of experience: 9. Registered at ProZ.com: May 2017.
ProZ.com Certified PRO certificate(s) N/A
Credentials N/A
Memberships N/A
Software Adobe Acrobat, Adobe Photoshop, AutoCAD, Google Translator Toolkit, Microsoft Excel, Microsoft Word, Powerpoint, Trados Studio, Wordfast
CV/Resume CV available upon request
Bio
No content specified
Keywords: Technical, Manual, Thai, English-Thai, engineering, mechanical, car, automobile, technology, advertisement


Profile last updated
Oct 5, 2021



More translators and interpreters: English to Thai - Thai to English   More language pairs